Monthakan Blogger

          ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ รวมถึงเทคโนโลยี มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก จนหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ล้าสมัย หรือไม่สามารถออกได้ทันตามความต้องการของผู้ที่สนใจ การใช้บล็อกเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการให้ข้อมูล ถือเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะว่าการสร้างบล็อก ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก และสามารถเขียนหรือปรับปรุงแก้ไขข้อความที่เขียนได้อย่างรวดเร็วง่ายดาย จึงมีผู้ที่มีความรู้หลายต่อหลายท่านใช้บล็อกเป็นที่เผยแพร่ความรู้

          จากที่กล่าวมาข้างต้นนี้ จึงเป็นที่มาในการสร้างบล็อกเกอร์ monthakan-blogger.blogspot.com ขึ้น เพื่อที่จะนำเสนอถึงข้อสอบ เฉลยข้อสอบพร้อมคำอธิบาย วิชาคณิตศาสตร์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจและต้องการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการสอบชี้วัดผลการเรียนรู้ O-Net ด้วย

ข้อสอบ O-NET คณิตฯ ชุดที่ 6


ข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 6


ข้อ 26. ถ้า a และ b เป็นคำตอบของสมการ x2 4x + 7 = 0 แล้วค่าของ (|a| + |b|i)4 เท่ากับข้อใด
ก. 98
ข. -98
ค. 196
ง. -196
ข้อ 27. ถ้าจำนวนเชิงซ้อน z1 , z2 และ z3 เป็นรากของสมการ z3 = 27 + 6i แล้ว |z1| + |z2| + |z3|
มีค่าเท่ากับเท่าใด
ก.6
ข.7
ค.8
ง.9
ข้อ 28. จงหาค่าสูงสุดของ P = 2x + y + 5 ตามเงื่อนไขข้อจำกัดต่อไปนี้
                x + 3y
7 = 0
                3x
2y +1 0
                4x + y
17 0
                x
0
                y
0

ก.12
ข.13
ค.14

ง.15



ข้อ 30.   ถ้าคะแนนสอบวิชาภาษาไทยมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                เท่ากับ 80 และ 15 คะแนน ตามลำดับ นักเรียนผู้หนึ่งมีคะแนนสอบวิชานี้เป็นเดไซด์ที่ 3.3 เขาสอบได้
คะแนนเท่ากับในข้อใดต่อไปนี้
(กำหนดให้ z = 0.44 ตรงกับ A = 0.17 )
ก.77.45
ข.73.40
ค.82.55

ง.86.60



_________________________________________________________________

เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 6



ข้อสอบ O-NET คณิตฯ ชุดที่ 5



ข้อ 21. ถ้าเอกภพสัมพันธ์คือเซตของจำนวนจริงแล้วข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
ก.x(x < 2 x2 < 4)
ข.x(|x +1| 1)
ค.x(x2 > 0)
ง.x(x2 + 1 2x)
ข้อ 22. ผลคูณของรากทั้งหมดของสมการ 6x + 6 = 2x+1 + 3x+1 มีค่าอยู่ในช่วงใดต่อไปนี้
ก.[0 , 1)
ข.[1 , 2)
ค.[2 , 3)

ง.[3 , 4)




_________________________________________________________________

เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 5



 
 
 

ข้อสอบ O-NET คณิตฯ ชุดที่ 4


ข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 4




_________________________________________________________________

เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 4





ข้อ 19. เฉลย ข้อ 4 : 0.80
แนวคิด f(x) = x3 + ax2 + bx 5c
                เมื่อ a, b, c R

                ถ้า (x2  4) เป็นตัวประกอบของ f(x)

                จะได้ว่า (x 2)(x + 2) เป็นตัวประกอบของ f(x)

                นั่นคือ (x 2) , (x + 2) หาร f(x) ลงตัว ดังนั้น

                f(2) = 0 และ f(2) = 0

                f(2) = 0 , 8 + 4a + 2b 5c = 0

                4a + 2b 5c = 8 ----------------------- (1)

                f(2) = 0 , 8 + 4a 2b 5c = 0

                4a 2b 5c = 8   ----------------------- (2)

                และจากโจทย์ กำหนดให้ เศษที่เหลือจากการหาร f (x) ด้วย
                (x + 1) คือ 0 จะได้ว่า
                f(1) = 0 , 1+ a b 5c = 0

                a b 5c = 1      ----------------------- (3)

                (1) - (2) , 4b = 16 b = 4

                แทนค่า b ใน (3) , a + 4 5c = 1

                a 5c = 3          ----------------------- (4)

                (1) + (2) , 8a 10c = 0

                4a 5c = 0           ----------------------- (5)

                (5) – (4) , 3a = 3 a = 1

                แทนค่า a ใน (4) , 1 5c = 3 5c = 4

                c = 4/5 = 0.8

ข้อ 20 เฉลย ข้อ 4 : ฟังก์ชัน ƒ มีฟังก์ชันผกผันก็ต่อเมื่อสำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใดๆ 
ในโดเมนของ ƒ ซึ่ง ƒ(x1) = ƒ(x2) จะได้ว่า x1 = x2

แนวคิด ฟังก์ชัน ƒ จะมีฟังก์ชันผกผัน แสดงว่า ƒ ต้องเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งซึ่งต้องมีนิยามคือ ถ้า x1 = x2 แล้ว ƒ(x1) = ƒ(x2)


ข้อสอบ O-NET คณิตฯ ชุดที่ 3

ข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 3








_________________________________________________________________

เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 3


 

ข้อสอบ O-NET คณิตฯ ชุดที่ 2



ข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่ 2

_________________________________________________________________

เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่1


ข้อที่ 6
 
-------------------------------------------------------------------------------------- 

ข้อ 7
-------------------------------------------------------------------------------------- 

ข้อ 8








--------------------------------------------------------------------------------------

ข้อ 9


--------------------------------------------------------------------------------------

ข้อ 10

ข้อสอบ O-NET คณิตฯ ชุดที่ 1

ข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่1

1) ถ้า A = {
, 0, 1, {1}, {1, 2}, {3}} และ P (A) เป็นเพาเวอร์เซตของ A แล้ว จำนวนสมาชิก ของเซต P (A) - A เท่ากับเท่าใด
          ก. 60
          ข. 61
          ค. 62
          ง. 63
2) เอกภพสัมพัทธ์ในข้อใดทำให้ x[x2 +2x 3 < 0] มีค่าความจริงเป็นจริง
          ก. (- , 3)
          ข. (-2 , -1)
          ค. (0 , 10)
          ง. (1 , )
3) ข้อใดไม่สมมูลกับ ประพจน์ p  (q  r)
          ก. (~ q  ~ r)  ~ p
          ข. (p  ~ q)  r
          ค. (p  ~ r)  q
          ง. ~ p  (~ q  ~ r)
4) ถ้า L เป็นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุดตัดของเส้นตรง 3x + 4y 7 = 0 และ 5x +12y 15 = 0 และตั้งฉากกับเส้นตรง 3x + y 5 = 0 แล้ว สมการเส้นตรง L เท่ากับข้อใด
          ก. 24y 8x 3 = 0
          ข. 8y + 24x 41 = 0
          ค. 24y + 8x 27 = 0
          ง. 8y 24x + 31 = 0
5) ถ้า X เป็นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ มีค่าเท่าใด
          ก. 5
          ข. 7
          ค. 9
          ง. 10
_________________________________________________________________

เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ชุดที่1

ข้อที่ 1 คำตอบคือ ตัวเลือกที่ 3 : 62
          อธิบาย  A = { , 0 , 1 , {1} , {1 , 2} , {3}}
                   P(A) = {
 , 0 , 1 , {1} , {1 , 2} , {3}}
                   n[P(A)] = 2n(A) = 26 = 64
                   A และ P(A) มีสมาชิกที่ซ้ำกันตัวคือ 
 , {1}
                   ดังนั้น P(A)
จึงมีสมาชิก 64 2 = 62 ตัว
ข้อที่ 2 คำตอบคือ ตัวเลือกที่ 2 : (-2 , -1)
          อธิบาย  x2 + 2x 3 < 0
                   (x + 3)(x 1) < 0
                   เซตคำตอบ (
3 , 1)
                   การที่ 
จะเป็นจริงได้แสดงว่า U  เซตคำตอบ
                   ซึ่งมีตัวเลือกเดียวคือ (
2 , 1)
ข้อที่ 3 คำตอบคือ ตัวเลือกที่ 4 : ~ p 
 (~ q  ~ r)

          อธิบาย  p  (q  r)               ~ p  (q  r)
                                              
~ p  q  r
                   1. ถูก เพราะ
                   (~ q 
 ~ r)  ~ p       ~ (~ q  ~ r)  ~ p
                                                
 q  r  ~ p
                                             
 ~ p  q  r
                   2. ถูก เพราะ
                   (p 
 ~ q)  r                  ~ (~ p  ~ q)  r
                                                   
~ p  q  r
                   3. ถูก เพราะ
                   (p 
 ~ r)  q          ~ (~ p  ~ r)  q
                                                              
~ p  r  q
                   4. ผิด เพราะ
                   ~ p 
 (~ q  ~ r)      p  (~ q  ~ r)
                                             
 (p  ~ q)  ( p  ~ r)
ข้อที่ 4 คำตอบคือ ตัวเลือกที่ 1 : 24y 8x 3 = 0
          
 ข้อที่ 5 คำตอบคือ ตัวเลือกที่ 4 : 10